Last updated: 19 ส.ค. 2567 | 33 จำนวนผู้เข้าชม |
การระบาดของ “โรคเอ็มพอกซ์” หรือชื่อเดิมฝีดาษลิง ที่ระบาดตั้งแต่ 2 ปีก่อนกลับมาสร้างความตระหนกอีกครั้ง การระบาดที่รุนแรงของไวรัสเอ็มพอกซ์ในประเทศคองโก ลุกลามไปยังเพื่อนบ้าน ทำให้ WHO ประกาศเตือนภัยภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระดับโลก
โรคฝีดาษลิง (Monkeypox)
ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปีค.ศ. 1958 ช่วงการระบาดของโรคที่คล้ายไข้ทรพิษหรือ ฝีดาษ โดยพบในบริเวณที่เลี้ยงลิงไว้เพื่อการวิจัย ต่อมาในปีค.ศ.1970 ได้พบการระบาดเกิดขึ้นในมนุษย์ครั้งแรกที่ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก โดยเรียกว่าโรคฝีดาษลิงในคน (Human Monkeypox) ซึ่งระบาดอยู่เพียงประเทศในแถบแอฟริกากลางและตะวันตกเท่านั้น และหลังจากนั้นก็ยังพบว่ามีการติดเชื้อในคนอีกถึง 3 ครั้ง
อาการของโรคฝีดาษลิง (Monkeypox)
โรคฝีดาษลิง เป็นโรควินิจฉัยได้ยาก อาการของโรคจะแสดงหลังจากติดเชื้อไปแล้วประมาณ 12 วัน โดยมีอาการคล้ายโรคฝีดาษ มีลักษณะอาการดังนี้
การติดต่อ
กลุ่มเสี่ยงที่จะรับเชื้อโรคฝีดาษลิง
สำหรับในประเทศไทยเอง ยังไม่เคยมีประวัติการพบโรคดังกล่าว เนื่องจากอยู่ในประเทศที่ไม่มีประวัติการเกิดโรคจากเชื้อไวรัส แต่ปัจจุบันการเดินทางไปท่องเที่ยวหรือทำธุรกิจ ในประเทศกลุ่มเสี่ยง อาจมีโอกาสติดเชื้อและนำกลับมายังประเทศได้ โดยมีกลุ่มเสี่ยงคือ แรงงานต่างชาติ หรือคนไทยที่ไปทำงานในประเทศที่มีการติดเชื้อ นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ผู้ที่เดินทางไปท่องเที่ยวยังประเทศที่เสี่ยงจะมีเชื้อไวรัสระบาด นักธุรกิจ ที่เดินทางไปหรือมาจากประเทศที่พบการติดเชื้อ
การป้องกัน
การรักษาโรคฝีดาษลิง
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษา หรือ วัคซีนป้องกันเฉพาะเจาะจง แต่สามารถควบคุมการระบาดได้ด้วย การฉีด วัคซีนป้องกันโรคฝีดาษ ซึ่งได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพ 85%
เเหล่งข้อมูล:โรคฝีดาษลิง (Monkeypox) โรงพยาบาลวัฒนเเพทย์ ตรัง
WHO ประกาศเตือนภัย “ฝีดาษลิง” ภาวะฉุกเฉินระดับโลก หลังระบาดหนักทั่วแอฟริกา พบผู้เสียชีวิตกว่า 450 คน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
31 ต.ค. 2567
15 พ.ย. 2567
4 พ.ย. 2567